บทที่ 1บทบาทการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการธุรกิจ
จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ จะพบว่าธูรกิจมีการแข่งขันการสูงมาก ต้องอาศัยวิธีการแลพกลยุทธ์ต่างๆ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็น เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอดต้องมีการวางแฟนการดำเนินงานอย่างดี วิเคราะห์ความต้องการของตลาดหรือกลุ่มลูกค้าของตนเอง มีเงินลงทุนมีความกล้าและความอดทนสูงจึงจะสามารถนำพาธุรกิจของตนให้อยู่รอดและเจริญก้าวหน้าได้หากวางแผนการดำเนินการไม่ดี กลยุทธ์การดำเนินงานไม่ดี ขาดการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจนั้นอาจจะประสบปัญหาไม่สามารถดำเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งหนึ่งที่ผู้ประกอบการต้องคำนึงถึง
จะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในปันจุบันเนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไปนัก ประกอบกับสามารถนำไปใช้ได้กับงานหลากหลายชนิดธุรกิจปัจจุบันจึงได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดำเนินงานและถือว่าคอมพิวเตอร์มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานในองค์กรทำให้องค์กรสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดได้ ธุรกิจแต่ละประเภทนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งานในรูปแบบแตกต่างกัน แลัววัตถุประสงค์ประสงค์ของการนำไปใช้งาน แต่จะมีวัตถุประสงค์หนึ่งที่เหมือนกัน
Mary Parker Follett (1941) กล่าวว่าการจัดการคือ การบริหารการจัดการเป็นทิคการทำงาน
Ricky W. Griffin (1999 :6) กล่าวว่า การจัดการ คือ กระบวนการ (Process) ของหารวางแผน (Planning) การจัดการองค์กร (Organiztion) การสั้งการ (Leading) และการควบคุม (COntrolling)
George R. Terry กล่าวว่า การบริหารการจัดการ คือ เป็นกระบวนการของการวางแผนการจัดองค์กร การกระตุ้นและการควบคุมให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลและอื่นๆ
อุทิส ศิริวรรณ (2548 :23) การจัดการ (Management) หรือบริหาร (Administration) โดยทั่วๆ ไปว่าคำที่มีความหมายใกล้เคียงกันและมักใช้แทนกันได้ แต่ในทางธูรกิจจะนิยมใช้คำว่าการจัดการมากกว่า และเมื่อกล่าวถึงคำว่า การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการประสมประสานทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยุ่เพื่อให้บรรลุผลสำเร็วตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ทรัพยากรดังกล่าว ได้แก่
1. การใช้คอมพิวเตอร์ในภารกิจหลักของธุรกิจ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานร่วมกันในงานกลุ่ม
3. การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานส่วนบุคคล
ดังนั้นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในภารกิจหลักจึงก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจดังนี้
1.2 ระบบสารสนเทศในระดับยุทธวิธี
1.3 ระบบสารสนเทศในระดับปฏิบัติการ
2. ระบบสารสนเทศตามสายงานธุรกิจ
1.1 งานงบประมาณ
1.2 งานบริหารเงินสด
1.3 งานบริหารงานลงทุน
2. งานขายและการตลาด
3. งานการผลิตการวางแผนความต้องการใช้วัตถุดิบ
4. งานทรัพยากรบุคคล
การดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพสามารถเกิดได้ไม่ยากด้วยนำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นอุปกรณ์พื้นฐานจะสามารถลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในด้านต่างๆของธุรกิจ
จะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในปันจุบันเนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไปนัก ประกอบกับสามารถนำไปใช้ได้กับงานหลากหลายชนิดธุรกิจปัจจุบันจึงได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดำเนินงานและถือว่าคอมพิวเตอร์มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานในองค์กรทำให้องค์กรสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดได้ ธุรกิจแต่ละประเภทนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งานในรูปแบบแตกต่างกัน แลัววัตถุประสงค์ประสงค์ของการนำไปใช้งาน แต่จะมีวัตถุประสงค์หนึ่งที่เหมือนกัน
1.1 ความหมายและขอบเขตการจัดการธุรกิจ
ในปัจจุบันได้เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า ธุรดกิจจะดำเนินงานได้ประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นกับการจดการ และบุคคลสำคัญที่รับรับผิดชอบในการจัดการ โดยตรงก็คือผู้บริหารหารมีผู้บริหารที่มีความสามารถจึงเป็นสิ่งที่องค์กรธุรกิจทุกแห่งต้องการ ได้มีนักววิชาการหลายคนกล่าวถึงความหมายของการจัดการ (Management)หรือการบริหาร (Administration) ดังนี้
Mary Parker Follett (1941) กล่าวว่าการจัดการคือ การบริหารการจัดการเป็นทิคการทำงาน
Ricky W. Griffin (1999 :6) กล่าวว่า การจัดการ คือ กระบวนการ (Process) ของหารวางแผน (Planning) การจัดการองค์กร (Organiztion) การสั้งการ (Leading) และการควบคุม (COntrolling)
George R. Terry กล่าวว่า การบริหารการจัดการ คือ เป็นกระบวนการของการวางแผนการจัดองค์กร การกระตุ้นและการควบคุมให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลและอื่นๆ
อุทิส ศิริวรรณ (2548 :23) การจัดการ (Management) หรือบริหาร (Administration) โดยทั่วๆ ไปว่าคำที่มีความหมายใกล้เคียงกันและมักใช้แทนกันได้ แต่ในทางธูรกิจจะนิยมใช้คำว่าการจัดการมากกว่า และเมื่อกล่าวถึงคำว่า การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการประสมประสานทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยุ่เพื่อให้บรรลุผลสำเร็วตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ทรัพยากรดังกล่าว ได้แก่
- คน (Man) คือ ทรัพยากรบุคคลที่จะเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน้าที่ต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
- วัสดุสิ่งของ (Material) คือ วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์และวัสดุสิ่งของต่างๆ ที่หามาเพื่อใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ
- เงินทุน (Money) คือ ทรัพยากรสำคัญที่ช่วยสนับสนุนการจัดหาทรัพยากรอื่นๆ
- ข้อมูล (Information) คือ สถิติ ข่าวสาร และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่สนับสนุนให้การประสานทรัพยากรอื่นๆ เป็นไปในแนวทางที่เหมาะสม
ทรัพยากรทั้ง 4 จะได้รับการประสมประสาน ผ่านกระบวนการการจัดการ
สรุป ได้ว่า การจัดการ (Management) หรือ อาจเรียกว่า การบริหาร หรือ การบริหารจัดการ หมายถึง ชุดของหน้าที่ต่างๆ ที่กำหนดทิศทางในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร
1.1.1 ประเภทของผู้บริหารแบ่งตามระดับการจัดการ
ประเภทของผู้บริหารที่ทำหน้าที่ทางการบริหารจัดการสำหรับธุรกิจโดยแบ่งตามระดับการจัดการแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่
1) ผู้บริหารระดับสูง เช่น ประธานบริษัท เป็นต้น เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบในการบริหารทิศทางการวางแผนกลยุทธและ นโนบายต่างๆ
2) ผู้บริหารระดับกลาง เช่น ผู้จัดการฝ่าย เป็นต้น เป็นผู้บริการที่มีหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้บริหารงานระดับสูงและระดับล่าง และรับผิดชอบการวางแผนต่างๆๆ
3) ผู้บริหารระดับล่าง เช่น หัวหน้างานเป็นต้น เป็นผู็บริหารที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงานสำหรับ
1.1.2 ประเภทของผู้บริหารแบ่งตามหน้าที่งาน
ประเภทของผู้บริหารที่ทำหน้าที่ทางบริหารจัดการสำหรับธุรกิจโดยแบ่งตามหน้าที่งานแบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่
1) ผู้บริหารการผลิต เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบในการผลิตสินค้าและบริการ
2) ผู้บริหารการตลาด เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการตลาดของสินค้าและบริการ
3) ผู้บริหารทรัพยากรบุคคล เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบการจัดการทรัพยากรบุคคล
4) ผู้บริหารการเงิน เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการเงินและบัญชี
5) ผู้บริหารทั่วไป เป็นผู้บริหารที่รับผิดชอบในการประสานงานของทุกๆหน้าที่เข้าด้วยกัน
ดังนั้นสรุปได้ว่า จากการแบ่งประเภทของผู้บริหารออกเป็น 2 ประเภทนั้นไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารที่แบ่งตามระดับการจัดการ หรือผู้บริหารแบ่งตามหน้าที่งานนั้น ผู้บริหารแต่ละหน้าที่งานจะมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงต่างกันออกไป
1.2 วิวัฒนาการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดขึ้นประมาณ 50 ปีก่อนนั้น มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลจากอดีตอย่างมากมาย การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ในทุกวงการเป็นไปอย่างแพร่หลาย
Schultheis & Summmer (1998) เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ มีวิวัฒนาการมาเป็นระยะๆทั้งนี้เป็นผลมาจากการคิดค้นและปรับปรุงเทคโนโลยีที่มีอยุ่ให้มันดีขึ้น
1.2.1 ยุคประมวลผลข้อมูลหรือยุคดีพี (Data Processing Era : DP Era)
การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ประเทศไทยเริ่มต้น เมื่อสำนักงานสถิติแห่งชาติได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเครื่องจะใหญ่เพื่อสำมะโนประชากรในราวปี พ.ศ. 2505
ดังนั้นการใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจในยุคประมวลผลข้อมูล สามารถสรุปได้เป็น 6ประเด็นหลักๆ ได้ดังนี้ คือ
- ) ลักษณะการใช้งานทั่วไป
- ) จุดมึงหมายของการใช้คอมพิวเตอร์ในยุดประมวลผลข้อมูล
- ) รูปแบบของการประมวลผลข้อมูล
- ) เทคโนโลยีในยุดประมวลผลข้อมูล
- ) การบริหารจัดการแรงงานคอมพิวเตอร์
- ) การพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบสารสนเทศ
1.2.2 ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที
ซึ่งนิยมเรียกสั้นๆ ว่า ยุคไอทีนั้น เริ่มต้นในราวช่วงปี พ.ศ. 2525 ซึ่งหากดูจากชื่อเรียกของยุคแล้ว ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยี
การใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจในยุคเทคโนโยลีสารสนเทศสามารถสรุปเป็น 5 ประเด็นหลักได้ดังนี้ คือ
- ลักษณะการใช้งานทั่วไป
- การประยุกต์ในงานด้านอื่นๆ
- ระบบสารสนเทศในธุรกิจ
- โปรแกรมสำเร็จรูป
- การบริหารจัดการงานคอมพิวเตอร์
1.2.3 ยุคเครื่อข่ายหรือยุคเน๊ตเวอร์ (Network Era)
เป็นยุคที่มีการผสมผสานการใช้งานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ากับเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อให้ทำงานร่วมกันเป็นระบบเครื่อข่าย
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นการกำเนินธุรกิจในยุคเครือข่ายมีการเปลี่ยนแปล 4 ด้านสรุปได้ดังนี้ คือ
- การทำงานภายในองค์การจากเดิมทำงานแบบบุคคล
- ระบบงาน
- โครงสร้างองค์กรธุรกิจ
- หารประยุกต์ในการดำเนินธุรกิจ
1.3 ลักาณะการใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
ถึงแม้ว่าแต่ละธุรกิจจะมีการแบ่งโครงสรา้งขององค์การที่แตกต่างกัน แต่การใช้งานคอมพิวเตอร์ก็ยังมีความคล้ายคลึงกันซึ่งสามารถจำแนกได้ 3 ลักษณะ2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานร่วมกันในงานกลุ่ม
3. การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานส่วนบุคคล
1.3.1 การใช้งานคอมพิวเตอร์ในภารกิจหลักของธุรกิจ
การใช้งานในลักษณะนี้เป็นการใช้งานระดับองค์กรในงานหลักของธุรกิจ โดยการประยุกต์กับงานด้านต่างๆ ภายในองค์การดังนั้นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในภารกิจหลักจึงก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจดังนี้
- การลดต้นทุนการดำเนินงาน
- การเพิ่มรูปแบบการบริการให้มีความหลากหลายและรวดเร็ว
- การเพิ่มผลผลิตขององค์การ
- การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้สูงขึ้น
1.3.2 การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานร่วมกัน
- การติดต่อสื่อสาร
- การปฏิสัมพันธ์
- การตัดสินใจและการแก้ปัญหา
1.3.3 การใช้งานคอมพิวเตอร์ด้านส่วนบุคคล
- งานด้านการพิมพ์และการจัดเอกสาร
- งานด้านการจำหน่ายจดหมาย
- งานด้านการคำนวน
- งานด้านการนำเสอน
- งานด้านการจัดการข้อมูล
- งานด้านการนัดจดหมาย
1.4 การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบบริหาร
1.4.1 การใช้งานคอมพิวเตอร์ในงานสารสนเทศเพื่องานด้านบริหาร
- ระบบสารสนเทศระดับสูง
1.1 ระบบสารสนเทศในระดับกลยุทธ์
1.3 ระบบสารสนเทศในระดับปฏิบัติการ
2. ระบบสารสนเทศตามสายงานธุรกิจ
1.4.2 ความจำเป็นระบบสารสนเทศต่องานบริหาร
- เพื่อการวางแผน
- เพื่อการตัดสินใจ
- เพื่อการบริหารจัดการ
- เพื่อการควบคุงาน
- เพื่อการติดตามและประเมินผล
1.4.3 การใช้งานคอมพิวเตอร์ในการสร้างสารสนเทศเพื่อการบริหาร
คอมพิวเตอร์มีบทบาทในการสร้างสารสนเทศทั้งระดับปฏิบัติและระดับบริหารสารสนเทศเพื่อการบริหาร
1.5 การใช้สารสนเทศในระดับประยุกธ์
1.5.1 คุณลักษณะของสารสนเทศเพื่อการวางกลยุกธ์
- เป็นสารสนเทศที่มาจากทั้งภายในและภายนอกองค์กร
- เป็นข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง
- เป็นสารสนเทศทีใช้ในงานพยากรณ์หรือประมาณการ
- เป็นสารสนเทศที่จัดทำในรูปเชิงสรุป
- เป็นข้อมูลที่ทัยสมัยและทันต่อเหตุการณ์
1.5.2 แหล่งที่มาของสารสนเทศเพื่อการวางกลยุทธ์
แหล่งที่มาของสารสนเทศมีทั้งจากภายในและภายนอก แต่เราจะกล่าวถึงแหล่งที่มาของสารสนเทศภายนอกองค์ ได้แก่- สื่อสารมวลชน
- การสำรวจหรือวิจัยต่างๆ
- สมาคมหรือสถาบันต่างๆ
- การพูดคุยหรือพอปะสังสรรค์
- ห้องสมุดหรือศูนย์บริการข้อมูล
- การใช้บริการฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์
- อินเทอร์เน๊ต
1.5.3 การรวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการว่างแผนกลยุทธ์
- การบันทึกเทป
- การทำกฤตภาค
- การจัดทำเป็นดัชนี
1.5.4 ตัวอย่างการใช้สารสนเทศเพื่อการวางกลยุกธ์
- กลยุทธ์การเงิน
- การพยากรณ์ทางการเงินระยะยาว
1.5.5 กลยุทธ์ทางการผลิต
แฟนกลยุทธ์ทางการผลิตจะต้องคำนึงถึงแฟนการลงทุนระยะยาวเกี่ยวกับการผลิต1.5.6 กลยุทธ์ทางทรัพยากรบุคคล
แผนกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล เป็นการจัดทำและรวบรวมสารสนเทศ เพื่อให้องค์การมีบุคลากรที่มีคุณภาพมาทำงานในอนาคตประกอบด้วยนโยบายการจ้างพนักงาน1.6 การใช้สารสนเทศในระดับยุทธวิธี
มีประเด็นที่สามารถนำมาพิจารณาการใช้สารสนเทศในระดับประยุทธิวิธีประกอบด้วย 3 ประเด็น ดังนี้
1.6.1 คุณลักษณะของสารสนเทศเพื่อการวางแผนยุทธวิธี
- คุณลักษณะของสารสนเทศเพื่อการวางแผนยุทธวิธี
- สารสนเทศภายในจะเกิดจากข้อมูลระดับปฏิบัติการ
2.2 รายงานกรณีพิเศษ
2.3 รายงานที่เร่งด่วน
3. เป็นลักษณะเชิงเปรียบเทียบ
4. เป็นสารสนเทศที่มาจากภายในและภายนอก
3. เป็นลักษณะเชิงเปรียบเทียบ
4. เป็นสารสนเทศที่มาจากภายในและภายนอก
1.6.2 แหล่งที่มาและการจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการวางกลยุทธวิธี
- สารสนเทศจากทั้งภายในและภายนอก
- ข้อมูลด้านบุคลากร
1.6.3 ตัวอย่างการใช้สารสนเทศเพื่อการวางแผนยุทธวิธี
- งานบัญชีและการเงิน
1.1 งานงบประมาณ
1.2 งานบริหารเงินสด
1.3 งานบริหารงานลงทุน
2. งานขายและการตลาด
3. งานการผลิตการวางแผนความต้องการใช้วัตถุดิบ
4. งานทรัพยากรบุคคล
1.7 การใช้สารสนเทศในระดับปฏิบัติการ
1.7.1 คุณลักษณะของสารสนเทศสำหรับแผนปฏิบัติการ
ดังนั้นสารสนเทศเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการจะมีลักษณะดังนี้- เป็นสารสนเทศที่มาจากภายในองค์การ
- เป็นสารสนเทศที่มีโครงสร้างแน่นอน
- เป็นสารสนเทศที่เกิดจากการปฏิบัติงาน
- เป็นสารสนเทศที่มีรายระเอียด ชัดเจน
- เป็นสารสนเทศที่ใช้ควบคุมการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน
1.7.2 แหล่ที่มาของสารสนเทศสำหรับแผนปฏิบัติการ
สำหรับแหล่งที่มาของสารสนเทศสำหรับแผนปฏิบัติการจะมาจากภายในองค์การในระดับปฏิบัติที่เกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจ1.7.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมจะเป็นการเก็บรวบรวมในรูปแบบของการคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูล1.7.4 ตัวอย่างการใช้สารสนเทศในการวางแผนปฏิบัติการ
- สำหรับงานขายและการตลาด
- สำหรับงานบัญชีและการเงิน
- สำหรับงานผลิต
1.8 การใช้คอมพิวเตอร์กับการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ
ธุรกิจใดมีการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ ย่อมจะมีความสามารถที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของตนมีลดตามไปด้วย โดยเราจะพบว่ายิ่งธุรกิจมีค่าใช้จ่ายลดน้อยลงเท่าใด ต้นทุนการประกอบการก็ยิ่งจะลดลงได้มากขึ้นเท่านั้นการดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพสามารถเกิดได้ไม่ยากด้วยนำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นอุปกรณ์พื้นฐานจะสามารถลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในด้านต่างๆของธุรกิจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น